Fotoinfo Magazine

Main Menu

  • Home
  • News
    • Activities
    • Pr news
    • Product news
    • Photo contest
  • Reviews
    • Camera Reviews
    • Lenses Reviews
    • Accessories Reviews
    • Smartphone Reviews
  • Buying guide
    • Cameras
      • Canon
      • Fujifilm
      • Leica
      • Nikon
      • Olympus
      • Panasonic
      • Pentax
      • Sigma
      • Sony
    • Lenses
      • canon
      • fujifilm
      • laowa
      • Leica
      • mitakon
      • nikon
      • olympus
      • panasonic
      • Pentax
      • samyang
      • sigma
      • sony
      • tamron
      • tokina
      • yongnuo
      • Ziess
    • Accessories
  • Photography
    • Knowledge
    • Photo Techniques
    • Basic
    • smartphone conner
  • Travels
    • Photography Planner
    • Shooting Destination
  • Video channel
    • Reviews
    • Unbox
    • Howto
    • Photo Technique
    • Live
    • Back to Basic

logo

  • Home
  • News
    • Activities
    • Pr news
    • Product news
    • Photo contest
  • Reviews
    • Camera Reviews
    • Lenses Reviews
    • Accessories Reviews
    • Smartphone Reviews
  • Buying guide
    • Cameras
      • Canon
      • Fujifilm
      • Leica
      • Nikon
      • Olympus
      • Panasonic
      • Pentax
      • Sigma
      • Sony
    • Lenses
      • canon
      • fujifilm
      • laowa
      • Leica
      • mitakon
      • nikon
      • olympus
      • panasonic
      • Pentax
      • samyang
      • sigma
      • sony
      • tamron
      • tokina
      • yongnuo
      • Ziess
    • Accessories
  • Photography
    • Knowledge
    • Photo Techniques
    • Basic
    • smartphone conner
  • Travels
    • Photography Planner
    • Shooting Destination
  • Video channel
    • Reviews
    • Unbox
    • Howto
    • Photo Technique
    • Live
    • Back to Basic
Basic
Home›Photography›Basic›4 สถานการณ์ที่ไม่ควรใช้ Auto white balance

4 สถานการณ์ที่ไม่ควรใช้ Auto white balance

By Suriyo Tataisong
16/01/2020
2664
0
Share:

แม้ว่าระบบปรับไวท์บาลานซ์อัตโนมัติ (AWB) ในกล้องดิจิตอลปัจจุบัน จะมีความก้าวหน้าไปจากเดิมมาก มีความแม่นยำที่ดีขึ้น กับหลากหลายสภาพแสง แต่ก็มีสถานการณ์ที่ระบบนี้อาจจะให้สีผิดเพี้ยน หรือให้ภาพไม่ถูกใจผู้ถ่าย เมื่อพบกับสถานการณ์เหล่านี้จึงควรปรับเปลี่ยนไปใช้ระบบไวท์บาลานซ์แบบอื่นแทน

1. ถ่ายด้วยแสงทังสเตน

หากคุณถ่ายด้วยแสงจากหลอดทังสเตน โดยใช้ระบบ Auto white balance จะพบว่าภาพจะออกโทนเหลือง หากมีคนในภาพ ผิวของตัวแบบคุณก็จะอมเหลืองนั่นเป็นเพราะ ระบบไม่สามารถทำงานที่อุณหภูมิสีต่ำกว่า 3200 เคลวินได้ ภาพจึงอมเหลือง ดังนั้นเมื่อต้องถ่ายภาพด้วยแสงทังสเตนแล้วต้องการสีถูกต้อง ควรเลือกใช้ระหว่างไวท์บาลานซ์แบบ Kelvin หรือ Custom โดยถ้าใช้แบบ kelvin ควรปรับอุณหภูมิสีประมาณ 2600-2900 K ส่วน Custom WB นั้น คุณจะต้อง คาลิเบทสีขาวในสภาพแสงตรงนั้น

 

2. สีดิ้น

ในการใช้กล้องดิจิตอลด้วยระบบ AWB แม้จะเป็นกล้องระดับโปรหรือเซมิโปรจะพบอาการสีดิ้นเสมอ เช่น ถ่ายด้วยแสงเดียวกัน แต่ขยับเปลี่ยนมุมเล็กน้อย โทนสีในภาพกลับเปลี่ยนไปจากภาพก่อนหน้า หรือบางครั้งไม่ได้เปลี่ยนมุม แต่เปลี่ยนตัวแบบ เปลี่ยนซับเจกต์ สีในภาพก็เปลี่ยนเป็นอีกโทนได้ หรือบางครั้งถ่ายรัวต่อเนื่องเป็นชุด แต่กลับได้ภาพที่มีสีสันแตกต่างกัน เมื่อพบสถานการณ์นี้ แนะนำให้เปลี่ยนไปใช้ไวท์บาลานซ์แบบ Kelvin แล้วดูผลเรื่องสีจากหน้าจอ หรือช่องมองภาพ EVF จะมั่นใจว่าทุกภาพที่ถ่ายในแสงตรงจุดนั้น สีจะเท่ากัน ไม่ต้องเสียเวลาในการทำไฟล์มาก

 

3. งานซีเรียส และแสงไม่เปลี่ยน

การถ่ายภาพงานพิธีหรืองานสำคัญต่างๆ เช่น ถ่ายภาพหน้าซุ้มด้วยแสงจากไฟต่อเนื่อง ซึ่งสภาพแสงคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแหล่งกำเนิดแสง แต่เปลี่ยนเฉพาะซับเจกต์ในภาพ แล้วต้องถ่ายภาพจำนวนมาก ควรหลีกเลี่ยงการใช้ AWB เพราะโอกาสที่ AWB จะทำงานผิดพลาดได้ เมื่อตัวแบบในภาพใส่เสื้อผ้าสีต่างกัน ควรปรับเป็นไวท์บาลานซ์ แบบ Kelvin หรือ Custom จะแน่นอนกว่า

 

4. สีไม่ได้อย่างที่ต้องการ

เพราะอารมณ์ของภาพเป็นสิ่งสำคัญ ภาพไม่จำเป็นต้องมีสีถูกต้องตรงกับความเป็นจริงเสมอไป บ่อยครั้งจะพบว่า ระบบ Auto white balance ให้สีไม่ถูกใจ อยากได้ภาพสีอุ่นกว่าที่กล้องปรับให้ หรืออยากให้สีอมฟ้าหน่อย เพื่อให้ได้บรรยากาศเหงาๆ เมื่อพบกับสถานการณ์นี้ คุณควรเปลี่ยนจาก AWB ไปเป็นไวท์บาลานซ์ แบบ Kelvin หรือ Preset แล้วเลือกโทนที่เราต้องการ

นักถ่ายภาพหลายคนที่ถ่ายด้วยไฟล์ RAW เป็นหลัก อาจไม่สนใจเรื่องไวท์บาลานซ์ เพราะคิดว่าไปปรับจากซอฟท์แวร์ก็ได้ แต่เรื่องไวท์บาลานซ์เป็นทักษะพื้นฐานที่คุณควรจะจบได้ตั้งแต่ตอนเซ็ทกล้อง ไม่ใช่จบที่คอม เพราะรูปที่โชว์ลูกค้าดูแบบเร็วๆ ในหน้างานจะเป็นรูปหลังกล้องและบางครั้งไฟล์ JPEG อาจต้องถูกนำไปใช้ด่วนๆ การอัพขึ้นโซเชียล ภาพจึงควรสมบูรณ์เป็นภาพที่คุณต้องการจริงๆ ตั้งแต่ลั่นชัตเตอร์

 

Writer : อิสระ เสมือนโพธิ์

TagsfotoinfoFotoinfo Learning Centerfotoinfo onlinePhoto TechniquePhotographic basicwhite balance
0
Shares
  • 0
  • +
  • 0
  • 0
  • 0
  • 0

Related articles More from author

  • Basic

    Basic Lighting for Fashion Photography

    27/07/2018
    By Fotoinfo Magazine
  • Pr news

    ทรานเซนด์เปิดตัว 3D NAND SSD อึดต่ออุณหภูมิที่สูง รองรับตลาด AIoT

    26/07/2019
    By Fotoinfo Magazine
  • Pr news

    “พานาโซนิคจับมือทรูบิสิเนส จัดโปรฯ เพื่อลูกค้าธุรกิจ”

    07/10/2019
    By Fotoinfo Magazine
  • Shooting Destination

    ท่องเที่ยววิถีไทย : ประเพณีแห่ช้างบวชนาค ที่หาดเสี้ยว

    02/11/2018
    By Fotoinfo Magazine
  • Knowledge

    ARCHITECTURE PHOTOGRAPHERS Interview #01 : วีรวุฒิ นนทเวชช์

    23/01/2019
    By Fotoinfo Magazine
  • Photo Techniques

    Gear & Tips สำหรับถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

    11/11/2019
    By Fotoinfo Magazine
#
  • Likes
  • 7410
    Subscribers
  • Followers
#
logo

About us

  • บริษัท ชุน ซีนเนอร์จี จำกัด เลขที่ 458/3 ซ.แสงมั่งมี โยธินพัฒนา 1 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานครฯ 10240
  • 095 881 1148
  • fotoinfogroup@gmail.com

Follow us

  • Home
  • About Us
  • Contact Us
© Copyright Fotoinfo Magazine. All rights reserved. Design & Developed By: R WEB DESIGN